£6.2.ผลิตภัณฑ์กระตุ้นการแตกตาดอก PGS 2
สารกระตุ้นตาดอกต้นองุ่น "PGS2"
*ผลิตภัณฑ์เป็นผลงานการวิจัยของ Amber grape farm จดลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฏหมาย*
💥ทำไม?จึงคิดค้นสร้าง PGS2ขึ้นมาใช้
"PGS2" : ผลิตออกจำหน่ายใน ราคา ขวดละ 350 บาท ขนาด บรรจุ 100 CC
หลายท่านฝันว่าอยากมีต้นองุ่นไว้ที่บ้านจะได้เด็ดกินกันสดๆ ได้มีความสุขกับการชื่นชมผลผลิตของผลไม้ชนิดนี้ แต่...เมื่อลงมือปลูกจริงก็ไม่ได้เป็นไปอย่างที่คาดหวัง ด้วยว่าขั้นตอนในการเลี้ยงดูนั้นต้องยอมรับว่ายากมาก รวมทั้งด่านโหดๆของ โรค,แมลงก็เป็นเงาทมึน ครอบคลุมอยู่ จึงทำให้ องุ่นที่ปลูกในบ้านเราไม่ค่อยจะได้ผลผลิตสักเท่าไหร่ สังเกตุดูได้ว่า ในตลาดแทบจะไม่มีผลองุ่นที่ปลูกในบ้านเราวางขายกันเลย(ที่มีขายเต็มท้องตลาดทุกวันนี้ก็เป็นองุ่นที่นำเข้ามาจากต่างประเทศทั้งนั้น) แต่...อารมณ์ในการกินองุ่นมันต่างกันมากๆกับการได้เด็ดกินองุ่นสดๆด้วยตัวเองหรือเป็นต้นองุ่นที่เราเลี้ยงมากับมือองุ่นที่ผลิตในบ้านเร่จึงมีราคาสูงกว่าองุ่นนำเข้ามา(แต่ก็มีไม่พอความต้องการ)
เมื่อมันทำได้ยาก...การทดลอง ค้นคว้าหาช่องทางในการเลี้ยงองุ่นให้สำเร็จได้โดยง่ายของ Amber grape farm จึงได้เกิดขึ้น "งานวิจัย"จึงเป็นเป้าหมายหลักในการปลูกองุ่นของฟาร์ม
ขั้นตอนการติดดอกคือขั้นตอนสำคัญเรียกว่าเป็นหัวใจในการเลี้ยงก็ว่าได้ เพราะว่า หากไม่มีการติดดอกออกผล มันก็ไม่มีผลองุ่นออกมาให้เรา ปัจจุบัน ในวงการองุ่นใช้ สารชนิดหนึ่ง(ดอแม็กส์)ช่วยในเรื่องนี้(เป็นสารเคมี) แต่มันก็เป็นเพียงตัวช่วยในการทำให้เกิดการ"แตกตา"ขึ้นพร้อมๆกันได้ทั้งต้นเท่านั้น ไม่ได้มีส่วนช่วยให้เกิดตาดอก ส่วนที่ทำให้เป็นตาดอกก็คือ อาหารและฮอร์โมนที่สะสมเอาใว้ในลำต้น I
ผมเองก็พบปัญหานี้ และไม่อยากไปใช้สารเคมีใดๆ ผมจึงเริ่มต้นทดลอง,วิจัย เพื่อค้นหาปัจจัยในการติดดอกว่ามีอะไรบ้าง? มันคืออะไรบ้าง ?แล้วก็มุ่งที่จะสร้างมันขึ้นมาใช้ให้ได้
สาร "PGS2"
มันก็ "คือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากงานวิจัย" ผมทำการวิจัยกับ ต้นองุ่น มากกว่า 100 สายพันธุ์ จึงได้พบว่าสารผสมตัวนี้สามารถไปกระตุ้นทำให้ตาได้พัฒนาแปลงไปเป็นตาดอกได้ และหน้าที่ก็หมดไปเพียงเท่านั้น การพัฒนาต่อไปของตาดอกจะเป็นหน้าที่ของการทำงานของต้น โดยใช้อาหาร,ฮอร์โมนที่สะสมเอาไว้ในลำต้นในการนำมาพัฒนาช่อดอกให้ไปเป็นช่อที่สมบูรณ์ได้ และพบว่าการตอบสนองแต่ละสายพันธุ์แตกต่างกัน แต่ก็เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ผมจะอธิบายถึงกระบวนการติดดอกออกผลขององุ่นแบบรวบรัดแต่เข้าใจง่ายๆนะครับ
การแตกตาดอกได้นั้นปัจจัยที่สำคัญมันก็คือ "ความพร้อม"และ"การถูกกระตุ้น"
ทั้ง 2 ข้อนี้มันก็จะมาจาก 2 ส่วนคือ
1.มาจากปัจจัยภายนอก(ทำให้เกิดกระบวนการกระตุ้น) ซึ่งก็คือ
- สภาพแวดล้อม เช่นอุณหภูมิ,ความชื้น,การขาดน้ำเป็นต้น
- .การกระทำของมนุษย์ เช่นการหยุดให้น้ำ,การพรุน,การใช้สารดอแม็กส์,การใช้สาร PGS2 เป็นต้น)
2. มาจากปัจจัยภายใน(ความพร้อมของต้นองุ่นเอง)ซึ่งอาจจะมาจาก
- ความสามารถของต้นองุ่นเอง ซึ่งก็คือกรรมพันธุ์ของแต่ละสายพันธุ์
- เกิดจากมนุษย์เราเป็นตัวกระทำ โดยเราใส่สิ่งต่างๆเข้าไปให้กับต้นไม้เช่น ปุ๋ย,ฮอร์โมนเป็นต้น
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
"ความพร้อม"และ"การถูกกระตุ้น" ทั้ง 2ตัวนี่ล่ะเป็นตัวที่ทำให้องุ่นติดดอกออกผลได้
- การหยุดการเติบโตของต้นที่เรียกว่า การเบรคยอด,หยุดยอด
- การหยุดให้น้ำก่อนพรุน
- การพรุน(ตัดแต่งกิ่ง ใบออกจนหมด)
- การใส่สารดอแม็กส์ ,PGS2 หรือสารอื่นๆลงไปที่ตาองุ่น
****ทั้ง 4 ข้อ ข้างต้น****
>>มันก็คือกระบวนการ"กระตุ้น"<<
- ☆การเบรคยอด,หยุดยอดมันก็คือการกระตุ้น,บังคับ
- ☆การหยุดให้น้ำ มันก็คือการทำร้าย,ทำลาย ,ทรมานพืช
- ☆การพรุน มันก็คือการทำร้าย,ทำลาย,ทรมานพืช
- ☆การใส่สารดอแม็กส์ มันก็คือการทำร้าย,ทำลาย,ทรมานพืช
มันก็คือการทำร้าย,ทำลายซ้ำๆเข้าไป จนทำให้พืชเกิดการตอบสนอง ในส่วนของตาเสมือนถูกการกระตุ้นจึงเกิดการพัฒนาเซลล์ให้แตกตาใหม่ขึ้นมา แต่มันจะพัฒนาไปเป็นตาดอกหรือตายอดนั้น มันก็ต้องขึ้นอยู่กับ"ความพร้อม"ครับ หรือต้นไม้ถูกทำร้ายหนักมากๆจนถึงขั้นวิกฤติ มันก็จะติดดอกได้เองครับ
ตามธรรมชาติของต้นไม้เมื่อถูกทำร้าย,หรืออยู่ในสภาวะที่เลวร้าย หรือรู้ตัวว่าจะต้องตายลงจะต้องรีบสร้างกิ่งก้าน,ติดดอกออกผลเพื่อการดำรงค์เผ่าพันธุ์ให้อยู่บนโลกนี้ต่อได้ มันคือกระบวนการทางธรรมชาติครับ
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
การใส่ปุ๋ยฟอสฟอร์รัสและโปตัสเซียมสูง และอื่นๆ
เช่น เอนไซด์,กรดอมิโนโน ,วิตามิน ,ฮอร์โมน เพื่อให้ต้นองุ่นทำการสะสมอาหารสะสมฮอร์โมน
>>มันก็คือกระบวนการเตรียมความพร้อมครับ<<
สรุปแบบสั้นๆคือ
๑.กระตุ้น +ต้นองุ่นไม่พร้อม =ไม่สำเร็จ หรือได้ช่อไม่สะพรั่ง(มักจะได้เพียงช่อหลีกหรือตุ่มช่อเล็กๆ)
๒.ไม่กระตุ้น+ต้นพร้อม = สำเร็จ แต่ช่อดอกไม่สะพรั่ง,ติดช่อไม่พร้อมกัน
๓.ไม่กระตุ้น+ต้นไม่พร้อม =ไม่สำเร็จ ไม่ได้ช่อดอกเลย
๔.กระตุ้น+ต้นพร้อม =สำเร็จได้ช่อดอกที่สะพรั่งพร้อมกันเต็มต้น
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
การใช้สาร PGS2 ไม่ใช่การทำร้าย, ทำลายหรือทรมาณพืช แต่มันเป็นการเพิ่มเข้าไปเพื่อทำงานประสานกับฮอร์โมนและธาตุอาหารที่พืชมีอยู่แล้วในต้นไปทำให้เกิดแรงกระตุ้นโดยตรง เป็นการทำงานประสานกันจากภายนอกและภายในต้น เพราะว่า PGS2 มันคือสารควบคุมการเจริญเติบโตพืช ที่ไปทำหน้าที่ เร่ง,ส่งเสริม,กระตุ้นให้พืชเกิดการติดดอกออกผล
**เมื่อท่านอ่านมาถึงตรงนี้ก็ คงพอจะเข้าใจนะครับว่า...องุ่นมันจะติดดอกให้เราได้อย่างไร? เราจะต้องทำอย่างไร? และที่ต้นองุ่นของเรานี่จะติดดอกได้หรือไม่อันนี้ก็คงจะสามารถพิจารณาได้นะครับ และ"คาดหวังได้ตรงตามความเป็นจริง"
ปัญหาการเลี้ยงต้นองุ่นที่ไม่ติดดอกออกผลก็มาจากการเลี้ยงดูแบบ
"ทำตามเขาบอก"แต่ไม่ได้ทำตาม"ความเข้าใจ"
♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡♡
➡ดูคลิบผลการทดลอง,วิจัย สาร PGS2 กับต้นองุ่นสายพันธุ์ Oscar ระยะที่1
➡ดูลิบผลการทดลองใช้สารPGS2 กับต้นองุ่นสายพันธุ์ Oscar ระยะที่ 2
➡ดูคลิบผลการใช้สาร PGS2 กับต้นองุ่นสายพันธุ์ Oscar ระยะที่ 3
➡ดูคลิบผลการใช้สาร PGS2 กับต้นองุ่นสายพันธุ์ Oscar ระยะที่ 4
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
วิธีใช้สาร PGS2
ใช้ดร๊อบเปอร์ที่เราแถมไปให้พร้อมน้ำยา ดูดเอาน้ำยาไปหยดลงตำแหน่งของตาองุ่น
หรือใช้พู่กันจุ่มน้ำยาแล้วแต้มไปที่ตา
●ช่องทางติดต่อกับเรา●
➡ ติดต่อขอคำปรึกษา เกี่ยวกับองุ่น ได้ที่ ⬅
เบอร์โทร : 092 124 8491
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●สนใจสั่งซื้อสินค้าผ่านช่องทางด้านล่าง
เบอร์โทร : 092 124 8491
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
สนใจสั่งซื้อสินค้าผ่านช่องทางด้านล่าง
➡เพิ่มเพื่อนด้วย QR CODE
หรือกดลิ้งไลน์ร้านค้า : https://lin.ee/HfFWq4s
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
ค้นหากิ่งพันธฺ์ุ หรือ ต้นพันธุ์อื่นๆ
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
ค้นหากิ่งพันธฺ์ุ หรือ ต้นพันธุ์อื่นๆ
➡ค้นหากิ่งพันธ์หลังวิจัย อื่นๆเพิ่มเติม
(แยกตามหมวดอักษร)➡ค้นหากิ่งพันธ์เพื่อขายโดยตรง
(ที่พร้อมจำหน่าย )ดังนี้1. กิ่งพันธ์ 1ต้น 1 สายพันธ์ุ2. กิ่งพันธ์ 1ต้น 2 สายพันธ์ุ3. กิ่งพันธ์ 1ต้น 3 สายพันธ์ุ➡ค้นหาสายพันธ์องุ่นตาม
(แยกตามหมวดอักษร)
➡ค้นหาสายพันธ์องุ่นตาม
(แยกตาม"รสชาติ")
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
➡ค้นหากิ่งพันธ์หลังวิจัย อื่นๆเพิ่มเติม
(แยกตามหมวดอักษร)
(แยกตามหมวดอักษร)
➡ค้นหากิ่งพันธ์เพื่อขายโดยตรง
(ที่พร้อมจำหน่าย )ดังนี้
(ที่พร้อมจำหน่าย )ดังนี้
1. กิ่งพันธ์ 1ต้น 1 สายพันธ์ุ
2. กิ่งพันธ์ 1ต้น 2 สายพันธ์ุ
3. กิ่งพันธ์ 1ต้น 3 สายพันธ์ุ
➡ค้นหาสายพันธ์องุ่นตาม
(แยกตามหมวดอักษร)
(แยกตามหมวดอักษร)
➡ค้นหาสายพันธ์องุ่นตาม
(แยกตาม"รสชาติ")
(แยกตาม"รสชาติ")
●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●●
สารบัญเนื้อหาข้อมูลการปลูกองุ่น
สารบัญเนื้อหาข้อมูลการปลูกองุ่น
1. สายพันธุ์องุ่น (ข้อมูล,ลักษณะประจำพันธุ์,องุ่นที่ปลูกในไทย)
2. วิธีการปลูกและเลี้ยงดูต้นองุ่นแบบปลูกในที่จำกัด (ปลูกแบบนอกตำรา)7. การป้องกันกำจัดโรค,แมลง ในตันองุ่น(ความรู้ ข้อมูล,ผลิตภัณฑ์)
8.วัสดุ,อุปกรณ์,ในการปลูกองุ่น (สั่งซื้ออุปกรณ์โรงเรือนเช่นพลาสติกมุงหลังคา,มุ้งกันแมลงและระบบปลูกแบบ Semi hydro organicได้ที่นี้)
10.พูดคุยและติดต่อเรา
1. สายพันธุ์องุ่น (ข้อมูล,ลักษณะประจำพันธุ์,องุ่นที่ปลูกในไทย)
2. วิธีการปลูกและเลี้ยงดูต้นองุ่นแบบปลูกในที่จำกัด (ปลูกแบบนอกตำรา)
7. การป้องกันกำจัดโรค,แมลง ในตันองุ่น(ความรู้ ข้อมูล,ผลิตภัณฑ์)
8.วัสดุ,อุปกรณ์,ในการปลูกองุ่น (สั่งซื้ออุปกรณ์โรงเรือนเช่นพลาสติกมุงหลังคา,มุ้งกันแมลงและระบบปลูกแบบ Semi hydro organicได้ที่นี้)
10.พูดคุยและติดต่อเรา
👉👉👉 สนใจผลิตภัณ์สั่งซื้อได้ที่
สั่งซื้อต้นพันธุ์องุ่น
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อ ปุ๋ย,สารอาหารสำหรับองุ่น
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อ ฮอร์โมนและสารเพิ่มประสิทธิภาพการเติบโต
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อดินปลูก,วัสดุปลูก
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งชื้อระบบปลูกองุ่น,ไม้ผลอื่นๆ
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อระบบปลูกผักแบบออโต้
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อต้น มัลเบอร์รี่
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อต้น พันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆในฟาร์ม
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อ ยาป้องกันกำจัดโรคองุ่น
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
สั่งซื้อ ยาป้องกันกำจัดแมลงเข้าทำลายองุ่น(แบบชีวภัณฑ์
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
สั่งซื้อพลาสติกมุงหลังคา
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
👉👉👉 สนใจผลิตภัณ์สั่งซื้อได้ที่
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อ ปุ๋ย,สารอาหารสำหรับองุ่น
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อ ฮอร์โมนและสารเพิ่มประสิทธิภาพการเติบโต
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อดินปลูก,วัสดุปลูก
>>>"คลิกที่นี่"<<<
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งชื้อระบบปลูกองุ่น,ไม้ผลอื่นๆ
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อระบบปลูกผักแบบออโต้
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อต้น มัลเบอร์รี่
>>>"คลิกที่นี่"<<<
>>>"คลิกที่นี่"<<<
สั่งซื้อต้น พันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆในฟาร์ม
>>>"คลิกที่นี่"<<<
>>>"คลิกที่นี่"<<<
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
(ยังไม่พร้อมวางจำหน่าย)
ความคิดเห็น